การเขียน คือ การแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการ ของผู้ส่งสารออกไปเป็นลาบลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้รับสาร
สามารถอ่านเข้าใจ ได้รับทราบความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการเหล่านั้น การถ่ายทอดโดยวิธีบอกเล่าปากต่อปาก หรือที่เรียกว่า
" มุขปาฐะ " อาจทำให้สารตกหล่นหรือคลาดเคลื่อนได้ง่าย ลายลักษณ์อักษรหรือที่ตัวหนังสือ ที่แท้จริงคือเครื่องหมายที่ใช้แทนคำพูดนั่นเอง
ในการเขียนภาษาไทย มีแบบแผนที่ต้องการรักษา มีถ้อยคำสำนวนที่ต้องใช้เฉพาะ และต้องเขียนให้แจ่มแจ้ง เพราะผู้อ่านไม่สามารถไต่ถามผู้เขียน
ได้เมื่อนอ่านไม่เข้าใจ ผู้ที่จะเขียนให้ได้ดี ต้องใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับผู้รับสาร โดยพิจารณาว่าผู้รับสารสามารถรับสารที่ส่งมาได้มากน้อยเพียงใด
รูปแบบการเขียน งานเขียนแบ่งออกเป็น 2 จำพวกได้แก่
+ งานเขียนร้อยกรองและงานเขียนร้อยแก้ว
+ งานเขียนที่ต้องใช้มากในชีวิตสังคม คือ
วันอาทิตย์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2552
การฟัง
การฟัง คือ การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน เป็นการรับรู้สารทางหู ในชีวิตประจำวันของเรา เราใช้เวลานการฟัง ทั้งที่ฟังจากบุคคลโดยตรง และฟังจากจากสื่ออิเล็คทรอนิคส์ต่างๆ เพราะข่าวสาร ความรู้และศิลปะวิทยาการต่องๆ ที่มนุษย์ถ่ายทอดกันตั้งแต่สมัยโบราณจนถึง ปัจจุบัน ยังใช้วิธีการพูดอธิบายให้ฟังแม้จะมีหนังสือบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ตาม
หลัการฟังที่ดี การฟังที่ดีมีหลักสำคัญคือ
1. ฟังให้ตรงตามความมุ่งหมาย โดยทั่วไปแล้หลักการฟังมีความมุ่งหมายหลัก 3 ประการ
1.1 ฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ได้แก่ การฟังเรื่องราวที่สนุกสนาน
1.2 ฟังเพื่อความรู้ ได้แก ่ การฟังเรื่องราวทางวิชาการ ข่าวสารและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
1.3 ฟังเพื่อให้ได้คติชีวิตหรือความจรรโลงใจ ได้แก่ การฟังที่ก่อให้เกิดสติปัญญา ความสุขุมและวิจารณญาณ
เพื่อเชิดชูจิตใจให้สูงขึ้น ประณีตขึ้น
2. ฟังโดยมีความพร้อม ความพร้อมในที่นี้ หมายถึง ความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ และความพร้อมทางสติปัญญา
ความพร้อมทางร่างกาย หมายถึง การมีสุขภาพทางร่างกายเป็นปกติ ไม่เหนื่อย ไม่อิดโรย
ความพร้อมทางจิตใจ หมายถึง การมีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอ
3.ฟังโดยมีสมาธิ หมายถึง ฟังด้วยความตั้งใจมั่น จดจ่ออยู้กับเรื่องที่ฟัง ไม่ปล่อยจิตใตให้เลื่อนลอยไปที่อื่น
4. ฟังด้วยความกระตือรือร้น ผู้ที่ฟังด้วยความกระตือรือร้นมักจะเป็นผู้ฟังที่มองเห็นประโยชน์หรือเห็นคุณค่า
จึงสนใจเรื่องที่ตนจะฟัง
5. ฟังโดยไม่อคติ ผู้ฟังโดยไม่อคติต้องพิจารณาให้ละเอียดถี่ถ้วน ไม่เป็นโทษแก่ผู้อื่น
หลัการฟังที่ดี การฟังที่ดีมีหลักสำคัญคือ
1. ฟังให้ตรงตามความมุ่งหมาย โดยทั่วไปแล้หลักการฟังมีความมุ่งหมายหลัก 3 ประการ
1.1 ฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ได้แก่ การฟังเรื่องราวที่สนุกสนาน
1.2 ฟังเพื่อความรู้ ได้แก ่ การฟังเรื่องราวทางวิชาการ ข่าวสารและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
1.3 ฟังเพื่อให้ได้คติชีวิตหรือความจรรโลงใจ ได้แก่ การฟังที่ก่อให้เกิดสติปัญญา ความสุขุมและวิจารณญาณ
เพื่อเชิดชูจิตใจให้สูงขึ้น ประณีตขึ้น
2. ฟังโดยมีความพร้อม ความพร้อมในที่นี้ หมายถึง ความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ และความพร้อมทางสติปัญญา
ความพร้อมทางร่างกาย หมายถึง การมีสุขภาพทางร่างกายเป็นปกติ ไม่เหนื่อย ไม่อิดโรย
ความพร้อมทางจิตใจ หมายถึง การมีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอ
3.ฟังโดยมีสมาธิ หมายถึง ฟังด้วยความตั้งใจมั่น จดจ่ออยู้กับเรื่องที่ฟัง ไม่ปล่อยจิตใตให้เลื่อนลอยไปที่อื่น
4. ฟังด้วยความกระตือรือร้น ผู้ที่ฟังด้วยความกระตือรือร้นมักจะเป็นผู้ฟังที่มองเห็นประโยชน์หรือเห็นคุณค่า
จึงสนใจเรื่องที่ตนจะฟัง
5. ฟังโดยไม่อคติ ผู้ฟังโดยไม่อคติต้องพิจารณาให้ละเอียดถี่ถ้วน ไม่เป็นโทษแก่ผู้อื่น
การพูด
การพูด มีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์เป็นอันมาก ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด ประกอบกิจการงานใด หรือคบหาสมาคมกับผู้ใด ก็ต้องสื่อสารด้วยการพูดเสมอ จึงมักพบว่า ผู้ที่ประสบความสำเร็จในกิจธุระการงาน การคบหาสมาคมกับผู้อื่น ตลอดจนการทำประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม ล้วนแต่เป็นคนที่มีประสิทธิภาพในการพูดทั้งสิ้นส่วนหนึ่งของการพูดสามารถสอนและฝึกได้ อาจกล่าวได้ว่า การพูดเป็น " ศาสตร ์" มีหลักการ และกฎเกณฑ์เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ ถึงขั้นเป็นที่พอใจอีกส่วนหนึ่งเป็นความสารถพิเศษหรือศิลปะเฉพาะตัวของผู้พูดแต่ละบุคคล บางคนมีความสามารถที่จะตรึงผู้ฟังให้นิ่งอยู่กับที่จิตใจจดจ่ออยู่กับการฟังเรื่องที่พูด ผู้พูดบางคนสามารถพูดให้คนฟังหัวเราะได้ตลอดเวลา ศิลปะเฉพาะตัวนี้
เป็นสิ่งที่ลอกเลียนกันได้ยาก แต่อาจพัฒนาขึ้นได้ในแต่ละบุคคล ซึ่งการพูดที่มีประสิทธิภาพเกิดจากการสังเกตวิธีการที่ดีและมีโอกาสฝึกฝน
ประเภทของการพูด แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1. การพูดระหว่างบุคคล ได้แก่
การทักทายปราศัย ลักษณะการทักทายปราศัยที่ดีดังนี้
+ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส แสดงอาการยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย
+ กล่าวคำปฏิสันถารที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ
+ แสดงกิริยาอาการประกอบคำปฏิสันถาร
+ ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทายควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจ
การแนะนำตนเอง การแนะนำเป็นสิ่งจำเป็น และมีความในการดำเนินชีวิตประจำวัน บุคคลอาจแนะนำตนเองในหลายโอกาสด้วยกัน การแนะนำตนเองมีหลักปฏิบัติดังนี้คือ ต้องบอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัวเรา และบอกวัตถุประสงค์ในการแนะนำตัว
การสนทนา หมายถึง การพูดคุยกัน พูดจาเพื่อนสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ การรับสารที่ง่ายที่สุ ด คือ การสนทนา
+ คุณสมบัติของการสนทนาที่ดี คือ
+ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส
+ ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพ คำพูดและน้ำเสียงน่าฟัง เป็นกันเองกับคู่สนทนา
2. การพูดในกลุ่ม
การพูดในกลุ่มเป็นกิจกรรมที่สำคัญในสมัยปัจจุบัน ทั้งในชีวิตประจำวันและในการศึกษาเป็นเปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่มได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วมาเล่าให้ฟังกัน มีวิธีการดังต่อไปนี้
+ เล่าถึงเนื้อหาและประเด็นประเด็นสำคัญ ๆ ว่ามีอะไรบ้าง
+ ภาษาที่ใช้ควรเป็นภาษาที่ง่าย
+ น้ำเสียงชัดเจนน่าฟัง เน้นเสียงในตอนที่สำคัญ
+ ใช้กิริยาท่าทางประกอบการเล่าเรื่องตามความเหมาะสม
+ ผู้เล่าเรื่อควรจำเรื่องไดเป็นอย่างดี
+ มีการสรุปข้อคิดในตอนท้าย
เป็นสิ่งที่ลอกเลียนกันได้ยาก แต่อาจพัฒนาขึ้นได้ในแต่ละบุคคล ซึ่งการพูดที่มีประสิทธิภาพเกิดจากการสังเกตวิธีการที่ดีและมีโอกาสฝึกฝน
ประเภทของการพูด แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1. การพูดระหว่างบุคคล ได้แก่
การทักทายปราศัย ลักษณะการทักทายปราศัยที่ดีดังนี้
+ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส แสดงอาการยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย
+ กล่าวคำปฏิสันถารที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ
+ แสดงกิริยาอาการประกอบคำปฏิสันถาร
+ ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทายควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจ
การแนะนำตนเอง การแนะนำเป็นสิ่งจำเป็น และมีความในการดำเนินชีวิตประจำวัน บุคคลอาจแนะนำตนเองในหลายโอกาสด้วยกัน การแนะนำตนเองมีหลักปฏิบัติดังนี้คือ ต้องบอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัวเรา และบอกวัตถุประสงค์ในการแนะนำตัว
การสนทนา หมายถึง การพูดคุยกัน พูดจาเพื่อนสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ การรับสารที่ง่ายที่สุ ด คือ การสนทนา
+ คุณสมบัติของการสนทนาที่ดี คือ
+ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส
+ ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพ คำพูดและน้ำเสียงน่าฟัง เป็นกันเองกับคู่สนทนา
2. การพูดในกลุ่ม
การพูดในกลุ่มเป็นกิจกรรมที่สำคัญในสมัยปัจจุบัน ทั้งในชีวิตประจำวันและในการศึกษาเป็นเปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่มได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วมาเล่าให้ฟังกัน มีวิธีการดังต่อไปนี้
+ เล่าถึงเนื้อหาและประเด็นประเด็นสำคัญ ๆ ว่ามีอะไรบ้าง
+ ภาษาที่ใช้ควรเป็นภาษาที่ง่าย
+ น้ำเสียงชัดเจนน่าฟัง เน้นเสียงในตอนที่สำคัญ
+ ใช้กิริยาท่าทางประกอบการเล่าเรื่องตามความเหมาะสม
+ ผู้เล่าเรื่อควรจำเรื่องไดเป็นอย่างดี
+ มีการสรุปข้อคิดในตอนท้าย
วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552
อ.จงจิต ชื่นม่วง
อาจารย์ จงจิต ชื่นม่วง เป็น อาจารย์สอนภาษาไทย
เคยได้ได้รับรางวัล
1.ครูภาษาไทยดีเด่น
2.เข็มคุรุสดุดี
เป็นอาจารย์ที่รักในภาษาไทย
เป็นคนแม่กลอง
เคยได้ได้รับรางวัล
1.ครูภาษาไทยดีเด่น
2.เข็มคุรุสดุดี
เป็นอาจารย์ที่รักในภาษาไทย
เป็นคนแม่กลอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)