วันอาทิตย์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
รายวิชาที่อาจารย์สอน
Link รายวิชาที่อาจารย์สอน http://archanjongjid2.blogspot.com/2010/02/blog-post.html
วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2553
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
Link การเขียนรายงานเชิงวิชาการ http://deedeeseena.blogspot.com/2010/01/blog-post.html
วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2553
คำพังเพย
คำพังเพย เป็นคำเปรียบเทียบเรื่องต่าง ๆ เพื่อใช้ติชม ซึ่งสะท้อนถึงความคิด ความเชื่อถือ และค่านิยม อันเป็นลักษณะของคนไทย เช่น ค่านิยมในการยกย่องผู้มีอาวุโส เคารพครูบาอาจารย์ และนิยมความสุภาพอ่อนโยน เช่น
"พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง"
หมายความว่า พูดไปไม่มีประโยชน์นิ่งเสียดีกว่า
กบเลือกนาย ชุบมือเปิบ
กระเชอก้นรั่ว ชิงสุกก่อนห่าม
กระดังงาลนไฟ ชี้โพรงให้กระรอก
กระดี่ได้น้ำ ชี้นกเป็นนก ชี้ไม้เป็นไม้
"พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง"
หมายความว่า พูดไปไม่มีประโยชน์นิ่งเสียดีกว่า
กบเลือกนาย ชุบมือเปิบ
กระเชอก้นรั่ว ชิงสุกก่อนห่าม
กระดังงาลนไฟ ชี้โพรงให้กระรอก
กระดี่ได้น้ำ ชี้นกเป็นนก ชี้ไม้เป็นไม้
วันอาทิตย์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2552
การเขียน
การเขียน คือ การแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการ ของผู้ส่งสารออกไปเป็นลาบลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้รับสาร
สามารถอ่านเข้าใจ ได้รับทราบความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการเหล่านั้น การถ่ายทอดโดยวิธีบอกเล่าปากต่อปาก หรือที่เรียกว่า
" มุขปาฐะ " อาจทำให้สารตกหล่นหรือคลาดเคลื่อนได้ง่าย ลายลักษณ์อักษรหรือที่ตัวหนังสือ ที่แท้จริงคือเครื่องหมายที่ใช้แทนคำพูดนั่นเอง
ในการเขียนภาษาไทย มีแบบแผนที่ต้องการรักษา มีถ้อยคำสำนวนที่ต้องใช้เฉพาะ และต้องเขียนให้แจ่มแจ้ง เพราะผู้อ่านไม่สามารถไต่ถามผู้เขียน
ได้เมื่อนอ่านไม่เข้าใจ ผู้ที่จะเขียนให้ได้ดี ต้องใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับผู้รับสาร โดยพิจารณาว่าผู้รับสารสามารถรับสารที่ส่งมาได้มากน้อยเพียงใด
รูปแบบการเขียน งานเขียนแบ่งออกเป็น 2 จำพวกได้แก่
+ งานเขียนร้อยกรองและงานเขียนร้อยแก้ว
+ งานเขียนที่ต้องใช้มากในชีวิตสังคม คือ
สามารถอ่านเข้าใจ ได้รับทราบความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการเหล่านั้น การถ่ายทอดโดยวิธีบอกเล่าปากต่อปาก หรือที่เรียกว่า
" มุขปาฐะ " อาจทำให้สารตกหล่นหรือคลาดเคลื่อนได้ง่าย ลายลักษณ์อักษรหรือที่ตัวหนังสือ ที่แท้จริงคือเครื่องหมายที่ใช้แทนคำพูดนั่นเอง
ในการเขียนภาษาไทย มีแบบแผนที่ต้องการรักษา มีถ้อยคำสำนวนที่ต้องใช้เฉพาะ และต้องเขียนให้แจ่มแจ้ง เพราะผู้อ่านไม่สามารถไต่ถามผู้เขียน
ได้เมื่อนอ่านไม่เข้าใจ ผู้ที่จะเขียนให้ได้ดี ต้องใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับผู้รับสาร โดยพิจารณาว่าผู้รับสารสามารถรับสารที่ส่งมาได้มากน้อยเพียงใด
รูปแบบการเขียน งานเขียนแบ่งออกเป็น 2 จำพวกได้แก่
+ งานเขียนร้อยกรองและงานเขียนร้อยแก้ว
+ งานเขียนที่ต้องใช้มากในชีวิตสังคม คือ
การฟัง
การฟัง คือ การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน เป็นการรับรู้สารทางหู ในชีวิตประจำวันของเรา เราใช้เวลานการฟัง ทั้งที่ฟังจากบุคคลโดยตรง และฟังจากจากสื่ออิเล็คทรอนิคส์ต่างๆ เพราะข่าวสาร ความรู้และศิลปะวิทยาการต่องๆ ที่มนุษย์ถ่ายทอดกันตั้งแต่สมัยโบราณจนถึง ปัจจุบัน ยังใช้วิธีการพูดอธิบายให้ฟังแม้จะมีหนังสือบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ตาม
หลัการฟังที่ดี การฟังที่ดีมีหลักสำคัญคือ
1. ฟังให้ตรงตามความมุ่งหมาย โดยทั่วไปแล้หลักการฟังมีความมุ่งหมายหลัก 3 ประการ
1.1 ฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ได้แก่ การฟังเรื่องราวที่สนุกสนาน
1.2 ฟังเพื่อความรู้ ได้แก ่ การฟังเรื่องราวทางวิชาการ ข่าวสารและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
1.3 ฟังเพื่อให้ได้คติชีวิตหรือความจรรโลงใจ ได้แก่ การฟังที่ก่อให้เกิดสติปัญญา ความสุขุมและวิจารณญาณ
เพื่อเชิดชูจิตใจให้สูงขึ้น ประณีตขึ้น
2. ฟังโดยมีความพร้อม ความพร้อมในที่นี้ หมายถึง ความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ และความพร้อมทางสติปัญญา
ความพร้อมทางร่างกาย หมายถึง การมีสุขภาพทางร่างกายเป็นปกติ ไม่เหนื่อย ไม่อิดโรย
ความพร้อมทางจิตใจ หมายถึง การมีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอ
3.ฟังโดยมีสมาธิ หมายถึง ฟังด้วยความตั้งใจมั่น จดจ่ออยู้กับเรื่องที่ฟัง ไม่ปล่อยจิตใตให้เลื่อนลอยไปที่อื่น
4. ฟังด้วยความกระตือรือร้น ผู้ที่ฟังด้วยความกระตือรือร้นมักจะเป็นผู้ฟังที่มองเห็นประโยชน์หรือเห็นคุณค่า
จึงสนใจเรื่องที่ตนจะฟัง
5. ฟังโดยไม่อคติ ผู้ฟังโดยไม่อคติต้องพิจารณาให้ละเอียดถี่ถ้วน ไม่เป็นโทษแก่ผู้อื่น
หลัการฟังที่ดี การฟังที่ดีมีหลักสำคัญคือ
1. ฟังให้ตรงตามความมุ่งหมาย โดยทั่วไปแล้หลักการฟังมีความมุ่งหมายหลัก 3 ประการ
1.1 ฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ได้แก่ การฟังเรื่องราวที่สนุกสนาน
1.2 ฟังเพื่อความรู้ ได้แก ่ การฟังเรื่องราวทางวิชาการ ข่าวสารและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
1.3 ฟังเพื่อให้ได้คติชีวิตหรือความจรรโลงใจ ได้แก่ การฟังที่ก่อให้เกิดสติปัญญา ความสุขุมและวิจารณญาณ
เพื่อเชิดชูจิตใจให้สูงขึ้น ประณีตขึ้น
2. ฟังโดยมีความพร้อม ความพร้อมในที่นี้ หมายถึง ความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ และความพร้อมทางสติปัญญา
ความพร้อมทางร่างกาย หมายถึง การมีสุขภาพทางร่างกายเป็นปกติ ไม่เหนื่อย ไม่อิดโรย
ความพร้อมทางจิตใจ หมายถึง การมีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอ
3.ฟังโดยมีสมาธิ หมายถึง ฟังด้วยความตั้งใจมั่น จดจ่ออยู้กับเรื่องที่ฟัง ไม่ปล่อยจิตใตให้เลื่อนลอยไปที่อื่น
4. ฟังด้วยความกระตือรือร้น ผู้ที่ฟังด้วยความกระตือรือร้นมักจะเป็นผู้ฟังที่มองเห็นประโยชน์หรือเห็นคุณค่า
จึงสนใจเรื่องที่ตนจะฟัง
5. ฟังโดยไม่อคติ ผู้ฟังโดยไม่อคติต้องพิจารณาให้ละเอียดถี่ถ้วน ไม่เป็นโทษแก่ผู้อื่น
การพูด
การพูด มีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์เป็นอันมาก ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด ประกอบกิจการงานใด หรือคบหาสมาคมกับผู้ใด ก็ต้องสื่อสารด้วยการพูดเสมอ จึงมักพบว่า ผู้ที่ประสบความสำเร็จในกิจธุระการงาน การคบหาสมาคมกับผู้อื่น ตลอดจนการทำประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม ล้วนแต่เป็นคนที่มีประสิทธิภาพในการพูดทั้งสิ้นส่วนหนึ่งของการพูดสามารถสอนและฝึกได้ อาจกล่าวได้ว่า การพูดเป็น " ศาสตร ์" มีหลักการ และกฎเกณฑ์เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ ถึงขั้นเป็นที่พอใจอีกส่วนหนึ่งเป็นความสารถพิเศษหรือศิลปะเฉพาะตัวของผู้พูดแต่ละบุคคล บางคนมีความสามารถที่จะตรึงผู้ฟังให้นิ่งอยู่กับที่จิตใจจดจ่ออยู่กับการฟังเรื่องที่พูด ผู้พูดบางคนสามารถพูดให้คนฟังหัวเราะได้ตลอดเวลา ศิลปะเฉพาะตัวนี้
เป็นสิ่งที่ลอกเลียนกันได้ยาก แต่อาจพัฒนาขึ้นได้ในแต่ละบุคคล ซึ่งการพูดที่มีประสิทธิภาพเกิดจากการสังเกตวิธีการที่ดีและมีโอกาสฝึกฝน
ประเภทของการพูด แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1. การพูดระหว่างบุคคล ได้แก่
การทักทายปราศัย ลักษณะการทักทายปราศัยที่ดีดังนี้
+ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส แสดงอาการยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย
+ กล่าวคำปฏิสันถารที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ
+ แสดงกิริยาอาการประกอบคำปฏิสันถาร
+ ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทายควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจ
การแนะนำตนเอง การแนะนำเป็นสิ่งจำเป็น และมีความในการดำเนินชีวิตประจำวัน บุคคลอาจแนะนำตนเองในหลายโอกาสด้วยกัน การแนะนำตนเองมีหลักปฏิบัติดังนี้คือ ต้องบอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัวเรา และบอกวัตถุประสงค์ในการแนะนำตัว
การสนทนา หมายถึง การพูดคุยกัน พูดจาเพื่อนสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ การรับสารที่ง่ายที่สุ ด คือ การสนทนา
+ คุณสมบัติของการสนทนาที่ดี คือ
+ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส
+ ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพ คำพูดและน้ำเสียงน่าฟัง เป็นกันเองกับคู่สนทนา
2. การพูดในกลุ่ม
การพูดในกลุ่มเป็นกิจกรรมที่สำคัญในสมัยปัจจุบัน ทั้งในชีวิตประจำวันและในการศึกษาเป็นเปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่มได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วมาเล่าให้ฟังกัน มีวิธีการดังต่อไปนี้
+ เล่าถึงเนื้อหาและประเด็นประเด็นสำคัญ ๆ ว่ามีอะไรบ้าง
+ ภาษาที่ใช้ควรเป็นภาษาที่ง่าย
+ น้ำเสียงชัดเจนน่าฟัง เน้นเสียงในตอนที่สำคัญ
+ ใช้กิริยาท่าทางประกอบการเล่าเรื่องตามความเหมาะสม
+ ผู้เล่าเรื่อควรจำเรื่องไดเป็นอย่างดี
+ มีการสรุปข้อคิดในตอนท้าย
เป็นสิ่งที่ลอกเลียนกันได้ยาก แต่อาจพัฒนาขึ้นได้ในแต่ละบุคคล ซึ่งการพูดที่มีประสิทธิภาพเกิดจากการสังเกตวิธีการที่ดีและมีโอกาสฝึกฝน
ประเภทของการพูด แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1. การพูดระหว่างบุคคล ได้แก่
การทักทายปราศัย ลักษณะการทักทายปราศัยที่ดีดังนี้
+ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส แสดงอาการยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย
+ กล่าวคำปฏิสันถารที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ
+ แสดงกิริยาอาการประกอบคำปฏิสันถาร
+ ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทายควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจ
การแนะนำตนเอง การแนะนำเป็นสิ่งจำเป็น และมีความในการดำเนินชีวิตประจำวัน บุคคลอาจแนะนำตนเองในหลายโอกาสด้วยกัน การแนะนำตนเองมีหลักปฏิบัติดังนี้คือ ต้องบอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัวเรา และบอกวัตถุประสงค์ในการแนะนำตัว
การสนทนา หมายถึง การพูดคุยกัน พูดจาเพื่อนสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ การรับสารที่ง่ายที่สุ ด คือ การสนทนา
+ คุณสมบัติของการสนทนาที่ดี คือ
+ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส
+ ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพ คำพูดและน้ำเสียงน่าฟัง เป็นกันเองกับคู่สนทนา
2. การพูดในกลุ่ม
การพูดในกลุ่มเป็นกิจกรรมที่สำคัญในสมัยปัจจุบัน ทั้งในชีวิตประจำวันและในการศึกษาเป็นเปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่มได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วมาเล่าให้ฟังกัน มีวิธีการดังต่อไปนี้
+ เล่าถึงเนื้อหาและประเด็นประเด็นสำคัญ ๆ ว่ามีอะไรบ้าง
+ ภาษาที่ใช้ควรเป็นภาษาที่ง่าย
+ น้ำเสียงชัดเจนน่าฟัง เน้นเสียงในตอนที่สำคัญ
+ ใช้กิริยาท่าทางประกอบการเล่าเรื่องตามความเหมาะสม
+ ผู้เล่าเรื่อควรจำเรื่องไดเป็นอย่างดี
+ มีการสรุปข้อคิดในตอนท้าย
วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552
อ.จงจิต ชื่นม่วง
อาจารย์ จงจิต ชื่นม่วง เป็น อาจารย์สอนภาษาไทย
เคยได้ได้รับรางวัล
1.ครูภาษาไทยดีเด่น
2.เข็มคุรุสดุดี
เป็นอาจารย์ที่รักในภาษาไทย
เป็นคนแม่กลอง
เคยได้ได้รับรางวัล
1.ครูภาษาไทยดีเด่น
2.เข็มคุรุสดุดี
เป็นอาจารย์ที่รักในภาษาไทย
เป็นคนแม่กลอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)